อาจทำให้การติดเชื้อรุนแรงขึ้น การขาดโปรตีนอาจทำให้ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่องและทำงานได้ไม่เต็มที่ หากร่างกายเจ็บป่วยหรือติดเชื้อ อาจทำให้อาการรุนแรงมากขึ้น
ข่าวสารและกิจกรรม ทำเบนโตะรูปสัตว์ต่างๆ
ช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอภายในร่างกาย
กรอกอีเมล์เพื่ออัพเดตข่าวสารจากโรงพยาบาลวิมุต-เทพธารินทร์
ปริมาณสารอาหารโปรตีนอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทยวัยต่างๆ
โปรตีนมีหน้าที่และความสำคัญดังต่อไปนี้
ตาราง ความต้องการกรดอะมิโนของคนในวัยต่าง ๆ ในแต่ละวัน
ผิวหนัง ผม และเล็บผิดปกติ ผิวหนัง ผม เล็บมีโปรตีนเป็นส่วนประกอบ หากขาดโปรตีนอาจทำให้ผมบาง เล็บเปราะ ผิวแห้งกร้าน ไม่แข็งแรง และแผลที่ผิวหนังหายได้ช้ากว่าปกติ
การพิจารณาปริมาณไขมันในอาหารที่อุดมไปด้วยโปรตีนก็เป็นสิ่งสำคัญ ควรเลือกทานอาหารที่มีโปรตีนสูงและมีไขมันอิ่มตัวต่ำ ในปัจจุบัน มีงานวิจัยมากมายแสดงให้เห็นว่า การรับประทานอาหารจำพวกปลา เนื้อไก่ ถั่ว และธัญพืชแทนเนื้อวัวหรือเนื้อแดง ช่วยลดโอกาสการเสียชีวิตก่อนวัย และลดโอกาสเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โปรตีน และมะเร็งได้
เสริมสร้างการเจริญเติบโต และพัฒนาการในเด็ก วัยรุ่น และหญิงตั้งครรภ์
โปรตีนไม่สมบูรณ์ จะขาดกรดอะมิโนจำเป็นบางชนิด ซึ่งร่างกายไม่สามารถนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพได้หากรับประทานเดี่ยว ๆ แต่อย่างไรก็ตามหากนำมารับประทานร่วมกับโปรตีนจากสัตว์แม้เพียงเล็กน้อย ก็จะกลายเป็นโปรตีนสมบูรณ์ได้เหมือนกัน ซึ่งพบได้มากในเมล็ดธัญพืช ถั่วประเภทต่าง ๆ
ช่วยให้อวัยวะ และเนื้อเยื่อต่างๆ ทำงานอย่างปกติ
โปรตีนช่วยเสริมสร้างและทำหน้าที่ในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อต่างๆ ที่สึกหรอภายในร่างกาย โดยเมื่อทานอาหารที่มีโปรตีน โปรตีนก็จะถูกย่อยจนได้กรดอะมิโนออกมา และถูกดูดซึมไปใช้เพื่อสังเคราะห์เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างภายในร่างกายต่อไป
ความต้องการกรดอะมิโนของคนในวัยต่างๆ ( มก./กก./วัน )